ลิ้งค์เชื่อมต่อ

สหประชาชาติเรียกร้องให้ค้นหาผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางเรือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อไป


A Rohingya woman stands at a temporary shelter in Bayeun, Aceh Province, Indonesia, Monday, June 1, 2015. Since early May, thousands of boat people from Myanmar and Bangladesh have been brought ashore from Southeast Asian waters.
A Rohingya woman stands at a temporary shelter in Bayeun, Aceh Province, Indonesia, Monday, June 1, 2015. Since early May, thousands of boat people from Myanmar and Bangladesh have been brought ashore from Southeast Asian waters.

คาดว่ามีประมาณหนึ่งพันคนในอ่าวเบงกอลและอีกราวพันคนใกล้มาเลเซียและอินโดนีเซีย

please wait

No media source currently available

0:00 0:02:43 0:00
Direct link

นาย Tom Vargas ที่ปรึกษาอาวุโสด้านกฎหมายและการปกป้องคุ้มครองของสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัย องค์การสหประชาชาติ (UNHCR) เชื่อว่าขณะนี้ยังมีผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางเรืออยู่ในทะเลราว 2,000 คน

คาดว่ามีประมาณหนึ่งพันคนอยู่ในอ่าวเบงกอลและอีกราวพันคนอยู่ในทะเลใกล้มาเลเซียกับอินโดนีเซีย

Indonesian Muslims hold defaced posters of Myanmar's radical Buddhist monk Ashin Wirathu during a protest demanding an end to the violence against ethnic Rohingyas in Rakhine State, outside the Embassy of Myanmar in Jakarta, Indonesia, May 27, 2015.
Indonesian Muslims hold defaced posters of Myanmar's radical Buddhist monk Ashin Wirathu during a protest demanding an end to the violence against ethnic Rohingyas in Rakhine State, outside the Embassy of Myanmar in Jakarta, Indonesia, May 27, 2015.

เจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติผู้นี้เรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ดำเนินการค้นหาคนเหล่านี้ต่อไป ขณะเดียวกันทางการเมียนม่ากล่าวว่าตนพร้อมจะเริ่มดำเนินกรรมวิธีกับผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางเรือกว่า 700 คนซึ่งได้รับการช่วยเหลือเมื่อต้นสัปดาห์นี้ และอาจต้องใช้เวลาสามวันเพื่อระบุสถานะของคนเหล่านี้ ก่อนที่จะสามารถตัดสินใจได้ว่าจะทำอย่างไรต่อไป

แต่นาง Anne Richard ผู้ช่วยรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ฝ่ายกิจการประชากร ผู้ลี้ภัย และการโยกย้ายถิ่นฐานได้เรียกร้องว่าชาวมุสลิมโรฮิงจะเหล่านี้สมควรได้รับการปฏิบัติในฐานะพลเมืองของเมียนม่าเอง

เกี่ยวข้อง

XS
SM
MD
LG